จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันพุธที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2553

lectuer เรื่อง Books

เรื่องเรียนในวันนี้  เกียวกับสารนิเทศ
     1. ส่วนประกอบของหนังสือ
     2. การจัดหมวดหมู่หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้
     3. เลขเรียกหนังสือ
     4. EMPOWER Module 1 : Book 
     5..บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง ทรัพยากรสารนิเทศ
     6. การค้นหาหนังสือในห้องสมุดโดยใช้ WebOPAC (มทร.อีสาน)

สรุป

-Glossary อภิทานศัพท์ 1. glossary [noun, นาม]
คำแปล/ความหมาย : อภิธานศัพท์
Synonym : dictionary, lexicon
คำที่เกี่ยวข้อง : ปทานุกรม, พจนานุกรม  -ท้ายเล่ม

-index ดรรชนี1. index [noun, นาม]
คำแปล/ความหมาย : ดัชนี
Synonym : inventory, register, directory, list
คำที่เกี่ยวข้อง : ดรรชนี   -ท้ายเล่ม

บรรณานุกรม หมายถึง ----ข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม   -ท้ายเล่ม

หน้าลิขสิทธิ์ หมายถึง ----สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้สติปัญญาความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น โดยผู้สร้างสรรค์จะได้รับความคุ้มครองทันทีที่สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียน

Dewey Deiml   โดยเอาเรื่องที่ครายกัน  มารวมยกตัวอย่างเช่น 000-900 สามารถแบ่งออกย่อย
000 _เรื่องอื่น   100ปรัชญญา    200 ศาสนา  300 สังคม  400 ภาษากับวรรณกรรมไม่เหมือนกัน 500 วิทยาศาสตร์บริสุทธ์   600 วิทยาศาสตรืประยุกต์   700 เรื่องกีฟา นันทนาการ  800 วรรกรรม วิทยานิพล
900 ประวัติศาสตร์ 
500  - 590  แบ่ง ไปตามย่อย 589.786   595.78 
-ใช้เครื่องคอมพิวเตอรืค้นหา เลขหมวดหมู่
-คนเขียน หน้าชื่อเรื่องจะอยู่ด้วยกัน  
call
-เลขหนังสือ   ที่มีสันเป็นสี  001.9  Mcd  001คือเลขหมวดหมู่หนังสือส่วนย่อยของหนังสือ   เอ็มซีดี คือเป็นชื่อผุ้แต่ง  _เอ็ม_ ชื่อผู้แต่ง

-658.4092 . F862g 2004   658 เลขหมวดหมูหนังสือ  .4092 หน่วยย่อยหมวดหมู่ เฟส ชื่อผู้แต่ง  862 เลขผู้แต่ง  จี อักษรตัวแรกหนังสือ  2004 ปีที่พิมพ์

-ในหนังสือจะมีเลขที่แตกต่างกัน   302.23083s622    _เลขเรียกหนังสือ หมายถึงจัดเก็บหนังสือ
เรื่องที่เรียน

-เวลาเรียหนังสือเลขน้อยไปหาเลขมาก  ตัวอักฤษเรียงตามลำดับอักฤษ เรียงจากชันบนลงล่าง 

OPAC (Online Public Access Catalogs) webOPAC/webPAC  ใช้ค้นหาทรัพยากร (หนังสือ วารสาร นสพ อ้างอิง แผ่นซีดี เทปโทรทัศน์ ) ในห้องสมุดเท่านั้น

ISBN  เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ
ISSN   เลขมาครฐานสากลประจำวารสาร
(serials=สิ่งพิมพืที่ออกต่อเนื่องกัน)
lmprint พิมพลักษร์(เมืองที่พิมพ์ สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ ปีพิมพ์)
Edition ครั้งที่พิมพ์
description หน้าหนังสือความกว้าง
series  ชุด คุณภาพชิวิต
subject  คำที่แทนเนื้อหาหนังสือ
added author  ผู้แปลและเรียบเรียง
item detail ลายระเอียดหนังสือ
Availble มีอยู่
บริการจอง
บริการยืมระหว่างห้องสมุด
Alice for Windows
webthailis จะค้นหาข้อมูลได้ทุกมหาลัย

ให้นักศึกหาละครแล้วหาตัวอย่างเช่น กระเป๋า เป็นต้น

ในเรื่องที่เราศึกษานั้น  มี คำที่พุดกัน เช่นกระเป๋า ผ้าพันคอ นิตยสารแฟร่ชัน  นักธุรกิจ  เป็นต้น หาชื่อมา 1 เรื่องในนี้  แล้ววิเคราะห์ หาทำรายงาน มาส่งอาจาร์

การเข้าห้องสมุด

ห้องสมุด เป็นข้อมูลแหล่งสารนิเทศ บริการทรัพยากรสารนิเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค วัสดุเทปและโทรทัศน์ CD-ROM DVD VCD รวมถึงไมโครฟิล์มด้วย โดยมีบรรณารักษ์ เป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารงานต่างๆ ในห้องสมุด โดยจัดระบบเป็นหมวดหมู่
ห้องสมุดใน ทำหน้าที่เก็บรวบรวม จัดระบบ เพื่อให้บริการสื่อสารนิเทศต่างๆ ตลอดจนถึงเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีทางการสื่อสาร อีกทั้งยังมีเครื่องมือในการค้นหาและดำเนินการให้บริการสื่อต่างๆ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้ห้องสมุดได
ห้องสมุด เรียกชื่อหลายแบบ อีกมากมาย อาทิ ศูนย์ข้อมูล, ศูนย์วัสดุ, ศูนย์วัสดุการศึกษา, สถาบันวิทยบริการ, เป็นต้น
  • ด้านการศึกษา ห้องสมุดเป็นแหล่งความรู้ที่ นักเรียน นักศึกษา สามารถค้นหาความรู้ด้วยตนเอง โดยห้องสมุดมีบทบาท ในการเสริมความรู้ และสนันสนุนการศึกษาในระบบ และให้โอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ได้ใช้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาอาชีพให้ทันกับวิทยาการ และเทคโนโลยี ให้แก่ผู้ที่ไม่มีโอกาสเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือผู้ที่ได้สำเร็จการศึกษาแล้ว
  • ด้านวัฒนธรรม ห้องสมุดเป็นที่บำรุงรักษาวัฒนธรรมของชาติ ให้สืบทอดไปยังอนุชนรุ่นต่อไป เนื่องจากห้องสมุด เป็นแหล่งที่จัดเก็บข้อมูลทางด้านสารนิเทศ ซึ่งส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมต่างๆ และสามารถใช้บ่งบอกความเจริญก้าวหน้าของประเทศนั้นๆ อีกด้วย